State-owned farm workers fighting for permanent jobs in Bangladesh

State-owned farm workers fighting for permanent jobs in Bangladesh

State-owned farm workers across Bangladesh are protesting for a week to demand an end to precarious employment as well as abolition of piece rate wage systems and fair wage increase. All workers working at Bangladesh Agricultural Development Corporation (BADC) and majority of agricultural workers in other government institutes and farms are employed as precarious workers. The BADC play a crucial role in providing quality seeds to farmers, which requires a permanent, trained workers, yet 100% of workers are precarious.

BAFLF member protesting at Bangladesh Rice Research Institute’s head office in Gazipur

On December 29, 2022 IUF-affiliated Bangladesh Agricultural Farm Labour Federation (BAFLF) submitted their demands to the agriculture minister. However, after no progress on negotiations, BAFLF members started protests on July 21.

BAFLF members who work at public agriculture research institutes or at the Bangladesh Agricultural Development Corporation (BADC) as agricultural workers are vital for ensuring food security in Bangladesh. BAFLF played an important role in suspension of commercial release of genetically engineered rice “Golden Rice” posing threat to the environment, food security and public health. BAFLF members at Bangladesh Rice Research Institute (BRRI), which was developing and conducting field tests for the GMO rice, protested inside the institute and were successful in stopping the commercial release.

In addition to permanent jobs, end to piece rate wage systems and fair wage increase, the BAFLF is also demanding that paid maternity leave be increased from 120 to 180 days, giving farm workers the same maternity rights as farm management.

Farm workers are demanding that government must start negotiations with BAFLF NOW!

 

การคุ้มครองทางสังคมจะมีประสิทธิภาพ เราต้องให้อำนาจผู้หญิง ก้าวหน้าสิทธิคนทำงาน  และกระจายความมั่งคั่งแก่ส่วนรวม

การคุ้มครองทางสังคมจะมีประสิทธิภาพ เราต้องให้อำนาจผู้หญิง ก้าวหน้าสิทธิคนทำงาน และกระจายความมั่งคั่งแก่ส่วนรวม

เป็นที่รู้กันดีว่า การคุ้มครองทางสังคม[1] (social protection) เป็นการสร้างสิ่งแวดล้อมที่เอื้อให้คนทำงานได้ปรับปรุงคุณภาพชีวิตของตน ช่วยรับประกันว่าคนทำงานจะมีรายได้คงที่ และได้ทำงานที่มีความปลอดภัย

การคุ้มครองสังคมดังกล่าวเป็นประโยชน์อย่างยิ่งโดยเฉพาะกับคนทำงานภาคการประมงขนาดเล็ก เกษตรกรรม เกษตรกรชายขอบ  อาชีพอิสระ  รวมทั้งผู้ที่รับงานไปทำที่บ้าน

อย่างไรก็ตาม เมื่อคนทำงานเหล่านี้ตกอยู่ในภาวะเปราะบางในทางกายภาพ สังคมและเศรษฐกิจ พวกเขาจะต้องการการคุ้มครองทางสังคมมากขึ้น แต่ในขณะเดียวกัน สภาวะเปราะบางในมิติต่าง ๆ ที่พวกเขาประสบก็จะทำให้พวกเขาเข้าถึงกลไกการคุ้มครองทางสังคมได้น้อยลง

ประเด็นเรื่องความเปราะบางและการเข้าถึงความคุ้มครองทางสังคมที่มีลักษณะผกผันเช่นนี้ พบได้ทั่วไปในคนทำงานหลากหลายสาขาอาชีพและภาคส่วน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง มีหลักฐานสนับสนุนว่า มักพบในคนทำงานอิสระและคนทำงานข้ามชาติ

อย่างไรก็ตาม ทางออกของปัญหาดังกล่าวไม่ใช่การเรียกร้องให้เพิ่มการคุ้มครองทางสังคมมากขึ้น เพราะในกรณีของคนทำงานภาคการประมงนั้น จะเห็นได้ว่าการคุ้มครองทางสังคมเกี่ยวพันกับประเด็นเรื่องสิทธิ และกระบวนการจัดสรรทรัพยากรด้วย กล่าวคือ  การให้ความคุ้มครองทางสังคมแก่คนทำงานในภาคการประมง หรือ ภาคการเกษตรจะมีประสิทธิภาพก็ต่อเมื่อพวกเขาได้เข้าถึงสิทธิ ได้รับการปรับปรุงคุณภาพชีวิตและมีส่วนร่วมในกระบวนการจัดสรรทรัพยากร

นอกจากนี้ การให้คนทำงานผู้หญิงได้มีส่วนร่วมในกระบวนการตัดสินใจ ก็ส่งผลให้การคุ้มครองทางสังคมเกิดประสิทธิภาพมากขึ้น ทั้งช่วยลดปัญหาความยากจน และปรับปรุงคุณภาพชีวิตคนทำงานอีกด้วย กล่าวคือ กระบวนการตัดสินใจนั้นต้องไม่เป็นไปโดยการให้ผู้หญิงเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการในเชิงสัญลักษณ์​หรือในลักษณะที่แน่นิ่ง (passive) เท่านั้น (เช่น การนำผู้หญิงมาเป็นเป้าหมายในการให้ความคุ้มครองทางสังคม)  หรือนำเอาแต่มุมมองเรื่องเพศและมิติเรื่องเพศมาใช้เท่านั้น แต่ต้องให้ผู้หญิงได้เข้ามาร่วมกระบวนการด้วย ผู้หญิงจะต้องได้เข้าร่วมและได้นำเสนอความเห็น ปัญหาจากกลุ่มก้อนของตนเองไม่ว่าพวกเธอจะทำงานในสถานประกอบการหรืออาชีพใดก็ตาม ทั้งเรือกสวนไร่นา หรือในชุมชน และพวกเธอต้องได้มีส่วนร่วมในทุกขั้นตอนของการตัดสินใจ ตั้งแต่การวางแผน ไปจนถึงการนำหลักการหรือนโยบายปฏิบัติใช้ เพื่อให้การคุ้มครองทางสังคมเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและเสมอภาคอย่างแท้จริง

จึงกล่าวได้ว่าการคุ้มครองทางสังคมจะมีความหมายและประสิทธิภาพมากขึ้นก็ต่อเมื่อผู้หญิงได้มีส่วนรวมโดยตรง และได้นำเสนอเรื่องราวจากกลุ่มก้อนของตนเองในกระบวนการตัดสินใจ ทั้งในการจัดสรรและกระจายทรัพยากรส่วนรวม การประเมินผลติดตาม รวมทั้ง การตรวจตราสอดส่องว่ามีความโปร่งใส เป็นธรรม และสามารถเข้าถึงการคุ้มครองทางสังคมได้

ในทางกลับกัน หากกระบวนการตัดสินใจถูกครอบงำโดยผู้ชาย ความคุ้มครองทางสังคมมักจะมีแนวโน้มสูงว่าจะเป็นไปโดยไม่มีประสิทธิภาพ เนื่องจากมีการจำกัดขอบเขตและการเข้าถึงการคุ้มครองทางสังคม อีกทั้งยังมีแนวโน้มที่จะเกิดการเลือกปฏิบัติต่างๆ การใช้อำนาจโดยมิชอบ รวมทั้งการทุจริต ซึ่งปัจจุบันปัญหาการทุจริตถือเป็นเรื่องแก้ไม่ตกที่บ่อนทำลายโครงการต่างๆ ของการคุ้มครองทางสังคมในประเทศภูมิภาคแถบนี้

นอกจากนี้ การสนับสนุนทรัพยากรแก่สถาบันต่าง ๆ ที่ทำงานอย่างไม่เป็นระบบ ไม่มีความรับผิดชอบและไม่โปร่งใสให้ดำเนินการเรื่องการคุ้มครองทางสังคม มีแต่จะทำให้เกิดความล้มเหลวเพิ่มขึ้น กล่าวคือ ในปัจจุบัน แม้ว่าจะมีเทคโนโลยีใหม่ๆ เข้ามามีบทบาทในการให้ความคุ้มครองทางสังคม แต่ถึงที่สุดเราก็หนีไม่พ้นการกลับไปแก้ไขปัญหาพื้นฐานของสถาบันอยู่ ซึ่งก็คือการให้ผู้หญิงเข้ามามีส่วนร่วมโดยตรงและนำเสนอประเด็นจากกลุ่มก้อนของตนในกระบวนการตัดสินใจ

ตัวอย่างสำคัญเห็นได้จากประเทศอินเดีย ที่มีการคุ้มครองทางสังคมทำงานภายใต้กฎหมายคุ้มครองการจ้างงานชนบทแห่งชาติ (National Rural Employment Guarantee Act, NREGA)  ซึ่งกฎหมายดังกล่าวเกิดขึ้นจากสหภาพแรงงานต่าง ๆ ที่เป็นเอกเทศ มีความเป็นประชาธิปไตย และจัดตั้งโดยกลุ่มผู้หญิง สหภาพเหล่านี้ได้เข้ามามีส่วนร่วมในการร่างกฎหมายและระเบียบปฏิบัติต่างๆ ของกฎหมาย เพื่อให้มั่นใจว่าผู้หญิงได้รับสิทธิต่างๆ จากกฎหมาย NREGA

ในขณะเดียวกันสหภาพแรงงานภายใต้การนำของกลุ่มผู้หญิงเหล่านี้ก็จะดึงผู้มีอำนาจในท้องถิ่นเข้ามามีส่วนร่วมในกฎหมาย เพื่อตรวจตราสอดส่องว่ามีการจัดสรรและกระจายทรัพยากรอย่างเหมาะสม เป็นธรรม และมีประสิทธิภาพ

การที่ผู้หญิงได้มีส่วนร่วมอย่างเป็นกลุ่มก้อนในกระบวนการตัดสินโดยตรง และ ได้นำเสนอเรื่องราวจากกลุ่มของตนนั้น ถือได้ว่าเป็นการใช้สิทธิและเสรีภาพในการรวมกลุ่มกันของผู้หญิง ซึ่งเป็นหลักการสำคัญในอนุสัญญาขององค์การแรงงานระหว่างประเทศฉบับที่ 87  (รวมทั้งอนุสัญญาที่สำคัญอย่างฉบับที่ 11 141 177 ว่าด้วยเรื่องสิทธิในการจัดตั้งกลุ่มหรือสหภาพ ของคนทำงานภาคเกษตร คนทำงานในชนบท และคนที่รับงานไปทำที่บ้าน) กล่าวคือ ผู้หญิงสามารถรวมตัวกันภายใต้กลุ่มก้อนหรือองค์กรที่พวกเธอเลือก และเคลื่อนไหวประเด็นที่กลุ่มตนสนใจ รวมทั้งสามารถเข้าไปมีส่วนร่วมในการต่อรองและตัดสินใจต่างๆได้ หากมีการกีดกันเสรีภาพในการรวมกลุ่ม หรือขัดขวางกลุ่มผู้หญิงไม่ให้มีส่วนรวม ย่อมทำลายประสิทธิภาพของนโยบายและโครงการต่างๆ ของการคุ้มครองทางสังคม

การกีดกันหรือขัดขวางคนทำงานผู้หญิง คนทำงานภาคเกษตรและภาคประมงในการจัดตั้งกลุ่มก้อนของตนเองยังทำให้ผู้หญิงมีความเปราะบางทางด้านเศรษฐกิจและสังคมมากขึ้น ซึ่งนำไปสู่การถูกเอารัดเอาเปรียบ ปัญหาการค้ามนุษย์ และการบังคับทำงานเพิ่มมากขึ้น ซึ่งส่งผลให้การคุ้มครองทางสังคมไม่ทั่วถึงและเปล่าประโยชน์

นอกจากนี้เรายังไม่ควรจัดสรรทรัพยากรและการคุ้มครองทางสังคมแก่อุตสาหกรรมประมงเชิงพาณิชย์ขนาดใหญ่ เพราะคนทำงานในภาคประมง ทั้งที่อยู่บนเรือและในโรงงานล้วนได้รับค่าแรงยากจน[2] (poverty wage) ซึ่งมีแต่จะหล่อเลี้ยงให้พวกเขาและชุมชนยากจนต่อไปเท่านั้น โดยชุมชนชาวประมงเหล่านี้ส่วนใหญ่มักจะอาศัยอยู่บริเวณที่ตั้งของแหล่งหาปลาเชิงพาณิชย์

จากการประชุมสภาชาวประมงระดับชาติของฟิลิปินส์ครั้งที่ 4 ในวันที่ 3 กันยายน 2565 ที่ผ่านมาได้มีการเสนอวิธีการสร้างอำนาจให้กับชาวประมง ซึ่งสัมพันธ์กับการทำอุตสาหกรรมการประมงแบบยั่งยืน การประชุมดังกล่าววิเคราะห์ว่า ปัญหาความยากจน หนี้สิน และการขาดการเข้าถึงสิทธิมนุษยชน (การเข้าถึงอาหาร โภชนาการ ที่พักอาศัย การศึกษา และการให้บริการสุขภาพ) เป็นผลพวงโดยตรงจากค่าแรงยากจนที่มาจากภาคส่วนอุตสาหกรรมการประมงเชิงพาณิชย์

นายจ้างจากอุตสาหกรรมประมงเชิงพาณิชย์เหล่านี้ มักจะขัดขวางการจัดตั้งสหภาพแรงงานและละเมิดสิทธิและเสรีภาพในการรวมกลุ่มและรวมตัวต่อรองของคนทำงาน ซึ่งเป็นหลักการในอนุสัญญาองค์การแรงงานระหว่างประเทศฉบับที่ 87 และ 98  นายจ้างเหล่านี้เองเป็นตัวการสำคัญที่ขัดขวางคนทำงานประมงไม่ให้สามารถรวมตัวเพื่อต่อรองเรื่องค่าแรง ทั้งที่การเพิ่มค่าแรงจะช่วยยกระดับชีวิตของพวกเขาและครอบครัวให้พ้นจากความจนได้

ในการบรรลุเป้าหมายที่ให้คนทำงานได้มีค่าแรงที่ดีขึ้น และมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น จะต้องให้ความสำคัญกับการรวมตัวต่อรอง (collective bargaining) ของคนทำงานในภาคส่วนอุตสาหกรรมประมงเชิงพาณิชย์ รัฐบาลไม่ควรให้เงินอุดหนุนแก่อุตสาหกรรมดังกล่าวซึ่งเป็นอุตสาหกรรมที่กดขี่สิทธิคนทำงานในด้านต่างๆ และหล่อเลี้ยงวงจรความยากจนเอาไว้

นอกจากนี้ เรายังจะเห็นอุตสาหกรรมประมงเชิงพาณิชย์ ละเมิดสิทธิเรื่องการทำงานอย่างปลอดภัยร้ายแรงเป็นจำนวนมาก ซึ่งการกระทำดังกล่าวขัดต่อหลักอนุสัญญาองค์การแรงงานนานาชาติฉบับที่ 155 ซึ่งเป็นหลักการพื้นฐานที่สำคัญ ในการประชุมสภาชาวประมงครั้งที่ 4 ที่ประเทศฟิลิปินส์ สมาชิกของชุมชนชาวประมงหลายคนได้เล่าถึงการอาการบาดเจ็บร้ายแรงต่างๆที่เกิดจากการทำงานที่ไม่ปลอดภัยของอุตสาหกรรมประมงพาณิชย์

การทำงานที่ไม่มีความปลอดภัยเหล่านี้ส่งผลให้คนทำงานบาดเจ็บ และป่วยไข้โดยโรคต่างๆในระยะยาวได้ ตลอดจนเหตุทุพลภาพที่ทำให้พวกเขาไม่สามารถทำงานได้ และสุดท้ายก็กลายเป็นภาระหนักให้กับโครงการการคุ้มครองทางสังคมอีก

ตัวอย่างหนึ่งที่สำคัญเห็นได้จาก สหภาพคนทำงานประมง BKMU ในประเทศมัลดีฟส์ ซึ่งเป็นสมาชิกของเรา กล่าวคือ ก่อนหน้านี้สหภาพดังกล่าวมีความสามารถในการต่อรองราคารับซื้อสัตว์ทะเล ทำให้พวกเขามีรายได้เพิ่มขึ้นและมีคุณภาพชีวิตตนครอบครัวและชุมชน รวมทั้งคนทำงานข้ามชาติที่ดีขึ้น

อย่างไรก็ตาม รัฐบาลประเทศมัลดีฟส์ชุดก่อนหน้าได้ประกาศใช้กฎหมายอุตสาหกรรมสัมพันธ์ฉบับใหม่ กฎหมายดังกล่าวได้คุกคามสิทธิและเสรีภาพในการจัดตั้งและรวมตัวต่อรองของสหภาพ  ปรากฏการณ์ดังกล่าวส่งผลให้สหภาพขาดอำนาจในการรวมกลุ่มต่อรอง และเกิดการผูกขาดการรับซื้อสัตว์ทะเลไว้กับบริษัทเพียงแห่งเดียว ส่งผลให้บริษัทดังกล่าวสามารถกำหนดราคารับซื้อได้ด้วยตนเอง ซึ่งทำให้รายได้ของสมาชิกสหภาพ BKMU ลดลง และชุมชนที่มีรายหลักจากการทำประมงยากจนขึ้น และเกิดปัญหาหนี้สินมากขึ้น

ฉะนั้นแล้ว การคุ้มครองทางสังคมจึงไม่ใช่การแก้ปัญหาที่ถูกจุด วิธีการแก้ปัญหาที่ถูกต้องคือ การให้ชาวประมงที่ทำงานในประมงพาณิชย์มีสิทธิรวมกลุ่มต่อรอง เพื่อกระจายผลกำไรของบริษัทมายังพวกเขา ไม่ใช่ขอรับความช่วยเหลือจากรัฐผ่านการคุ้มครองทางสังคมแต่เพียงอย่างเดียว

อย่างไรก็ตาม การคุ้มครองทางสังคม ยังมีความจำเป็นในการนำไปใช้ช่วยเหลือชาวประมงพื้นบ้านและชาวประมงขนาดเล็ก คนทำงานอิสระ และคนที่รับงานไปทำที่บ้าน รวมทั้งชุมชนจับสัตว์ทะเลที่อาศัยตามชายฝั่งที่ประสบปัญหาการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ รวมทั้งปัญหาเรื่องแรงงานเด็กในการประมงพื้นบ้านและการจับสัตว์ทะเลที่ต้องเร่งแก้ปัญหาอีกด้วย

นอกจากนี้ ในการสร้างการคุ้มครองทางสังคมให้เกิดประสิทธิภาพ จะต้องพิจารณาประเด็นเรื่องความเปราะบางของชุมชนจับสัตว์ทะเลที่อาศัยตามชายฝั่งที่ได้รับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ การสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพของสัตว์ทะเล และ การลดลงของจำนวนพันธ์ุสัตว์ทะเล  ประเด็นเหล่านี้ถือเป็นปัญหาร้ายแรงที่เกิดขึ้นทั่วภูมิภาค ซึ่งส่งผลกระทบอย่างมากต่อวิถีชีวิตและรายได้ของชาวประมง รวมทั้งความมั่นคงทางอาหารทะเล

อาจกล่าวได้ว่า การคุ้มครองทางสังคมจะเกิดประสิทธิภาพ จะต้องผนวกประเด็นเรื่องการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและการเข้าถึงสิทธิต่าง ๆ มาไว้ในนโยบายและแผนปฏิบัติงานอย่างรอบด้านและอย่างเป็นระบบ ในเรื่องสิทธินั้น จะต้องควบรวมไปถึงเรื่องสิทธิในการมีส่วนร่วมในการตัดสินใจของกลุ่มชาวประมง และสิทธิในการเข้าถึงแหล่งอาหารและโภชนาการ โดยรัฐบาลจะต้องแก้ปัญหาเรื่องการปล่อยมลพิษจากอุตสาหกรรมที่ทำลายวิถีชีวิตของชาวประมงอย่างจริงจังร่วมด้วย

อย่างไรก็ตาม รัฐบาลมักจะให้เงินอุดหนุนรวมทั้งกระจายทรัพยากรไปยังการประมงพาณิชย์ขนาดใหญ่

โดยเฉพาะอย่างยิ่งการประมงสากล (distant water fishing, DWF) ซึ่งการประมงสากลนั้นส่งผลต่อการลดลงของจำนวนสัตว์ทะเล ซึ่งสร้างผลกระทบต่อการจับสัตว์ทะเลต่อทั้งมหาสมุทร ในแง่นี้การประมงสากลจึงคุกคามวิถีชีวิตความเป็นอยู่และความมั่นคงทางอาหารของชุมชนชาวประมง หากปัญหาการอุดหนุนเงินของรัฐให้กับการประมงพาณิชย์ขนาดใหญ่และการประมงสากลเหล่านี้ยังไม่ถูกพูดถึง จะทำให้ชุมชนชาวประมงตามชายฝั่งเกิดปัญหาความยากจน หนี้สิน และความมั่นคงทางอาหารมากขึ้น โดยเฉพาะชุมชนประมงพื้นบ้านต่างๆ และชาวประมงชาติพันธุ์ สุดท้ายก็จะทำให้พวกเขาต้องการการคุ้มครองทางสังคมเพิ่มมากขึ้น (อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้) ฉะนั้นแล้ว ประสิทธิภาพของการคุ้มครองทางสังคมจะถูกทำลาย หากรัฐบาลยังมีการอุดหนุนเงินและทรัพยากรให้กับอุตสาหกรรมประมงเชิงพาณิชย์เหล่านี้

ด้วยเหตุนี้เอง หากต้องการให้การคุ้มครองทางสังคมมี “การเปลี่ยนแปลงสีคราม”[3] (blue transformation) ในภาคส่วนการประมงอย่างเสมอภาค จะต้องมีการจัดสรรทรัพยากรส่วนรวมใหม่และตระหนักถึงสิทธิคนทำงานด้วย

ฉะนั้นแล้ว เราไม่ต้องการให้รัฐเพิ่มกองทุนการคุ้มครองทางสังคมเท่านั้น แต่เราต้องการให้รัฐหยุดอุดหนุนกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่ส่งผลเสียต่อสิ่งแวดล้อม ความเป็นอยู่ รายได้ และความมั่นคงทางอาหาร อีกด้วย นอกจากนี้ เราต้องการให้การคุ้มครองทางสังคมให้ความสำคัญกับการจัดสรรทรัพยากรส่วนรวมมากขึ้น โดยลดการอุดหนุนอุตสาหกรรมที่ดูดกลืนและทำลายทรัพยากรของคนส่วนใหญ่ เพิ่มการจัดเก็บภาษีบริษัทเหล่านี้และภาษีคนรวยให้มากขึ้น

สุดท้ายแล้วจะเห็นได้ว่า การคุ้มครองทางสังคมจะเกิดได้ จะต้องมาจากการกระจายความมั่งคั่งร่วมด้วย เพื่อสร้างการเปลี่ยนแปลงที่เสมอภาคและยั่งยืนอย่างแท้จริง

[1] การคุ้มครองทางสังคม หมายถึง การจัดระบบหรือมาตรการรูปแบบต่างๆ เพื่อคุ้มครองสิทธิขั้นพื้นฐานของประชาชนทุกคนตามที่รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยบัญญัติไว้ ไม่ว่าจะเป็นบริการสังคม การประกันสังคม การช่วยเหลือทางสังคม  ปัจจุบันปประเทศไทยมีระบบความคุ้มครองทางสังคม 2 รูปแบบ ได้แก่ สวัสดิการทางสังคม เช่น เช่น การแจกบัตรสวัสดิการแห่งรัฐ บัตรคนจน บัตรประชารัฐ บัตรสงเคราะห์ต่างๆ  และ ประกันสังคม

[2] ค่าแรงยากจน (poverty wage)  คือ  ค่าแรงที่มีมูลค่าไม่เพียงพอแก่ค่าครองชีพและความต้องการพื้นฐานของปัจเจกบุคคลในชีวิตประจำวัน และการอยู่อาศัยในพื้นที่นั้นๆ ส่งผลให้คนทำงานอาจงานนอกเวลา รับงานเสริม เกิดหนี้สิน รวมทั้งส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตความเป็นอยู่ สุขภาพ และชีวิตสมาชิกในครอบครัวที่ต้องเลี้ยงดู ตลอดจนการเข้าถึงโอกาสต่างๆ ในชีวิต การคำนวนค่าแรงยากจน ค่าแรงยากจนสามารถคำนวนได้จากดูว่าค่าแรงที่ได้รับต่ำกว่าเส้นแบ่งความยากจนหรือไม่

ค่าแรงยากจนสามารถประเมินได้ คือค่าแรงที่อยู่ต่ำกว่าเส้นความยากจน (poverty line) ซึ่งถูกกำหนดขึ้นเพื่อให้เป็นเครื่องมือพื้นฐานในการแบ่งแยกคนจนและคนไม่จนออกจากกัน เพื่อรัฐบาลจะได้หานโยบายช่วยเหลือได้ถูกกลุ่มเป้าหมาย  โดยบุคคลที่ดำรงชีวิตต่ำกว่าเส้นความยากจนจะถือว่าบุคคลนั้นเป็นคนจน ในปี 2558 เส้นความยากจน มีค่าเท่ากับ 2,644 บาท ต่อคน ต่อเดือนเดือน อย่างไรก็ตามเกณฑ์ดังกล่าวเป็นที่ถกเถียงว่า ไม่สามารถประเมินได้อย่างแม่นยำนัก

[3] การเปลี่ยนแปลงสีคราม (blue transformation) เป็นวิสัยทัศน์หนึ่งจากองค์การสหประชาชาติ ในส่วนงานของอาหารและเกษตรกรรม ที่มุ่งหมายให้เกิดการจัดสรรทรัพยากรและระบบอาหารจากท้องทะเลอย่างเท่าเทียม โดยกระจายโอกาสให้กลุ่มผู้เปราะบางทางสังคมได้เข้าถึงอาหารทะเลที่มีโภชนาการและราคาจับต้องได้ ในขณะเดียวกันก็ส่งเสริมกลุ่มและชุมชนชาวประมงให้สามารถทำการประมงและการเกษตรได้อย่างยั่งยืน รวมทั้งส่งเสริมการอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพทางทะเล และสิ่งแวดล้อมทางทะเลไปด้วย

For social protection to be effective it must empower women, advance workers’ rights and redistribute wealth

For social protection to be effective it must empower women, advance workers’ rights and redistribute wealth

There is no doubt that social protection can contribute to creating an enabling environment in which workers can improve their livelihoods and ensure stable incomes and safe work. This is especially important for workers engaged in small-scale fisheries and agriculture, and for marginal farmers, informal sector workers and home-based workers. The greater the physical, social and economic vulnerability, the greater the need for social protection. Yet at the same time, the greater the physical, social and economic vulnerability, the less access these workers have to social protection. This inverse correlation between vulnerability and access to social protection is prevalent in all sectors and is especially evident among informal sector workers and migrant workers.

Calling for more social protection is not a solution in and of itself. Taking the example of the fisheries sector, social protection can be effective in ensuring access to rights and improving the livelihoods and wellbeing of fishers, farmers and fisheries workers. But its effectiveness depends on rights, process and resource allocation.

The direct involvement of women workers in decision-making is essential for social protection to be effective in reducing poverty and improving livelihoods. The involvement of women cannot be symbolic or passive (women as targets of social protection instruments). It is not based on the inclusion of gender perspectives and gender-based approaches alone, but the inclusion of women themselves. Women workers must be able to collectively represent themselves in the workplaces, farms and communities – and at all levels of decision-making, planning and implementation – for social protection to be effective and truly equitable.

Women will ensure that social protection is meaningful and effective through their direct, collective representation in decision-making in the allocation and distribution of public resources; and continuous assessment and monitoring to ensure transparency, fairness and reach. If decision-making is dominated by men, then not only is there a greater likelihood that social protection will be ineffective and limited in its scope and reach, there is also a greater likelihood of discrimination, abuse and corruption. The erosion of existing social protection programs due to corruption remains a serious challenge in the region.

Adding more resources for social protection to broken, unaccountable and opaque institutions simply sets us up for failure. While new technologies could play an important role, fundamental institutional reforms are needed. The most important of which is the direct, collective participation of women workers in decision-making. In India, the most effective use of social protection under the National Rural Employment Guarantee Act (NREGA) occurs where independent, democratic unions led by women are involved in organizing, policy intervention and decision-making. These unions ensure that women secure their rights under NREGA, while also engaging with local authorities to ensure the appropriate, fair and effective use of NREGA resources.

The direct, collective involvement and representation of women in decision-making assumes that women can exercise the  right to freedom of association guaranteed under ILO Convention No 87. (Also important are ILO Convention Nos 11, 141 and 177 on the right of agricultural workers to organize; rural workers’ organizations; and home-based workers). Women can combine together in an organization of their own choosing, represent their collective interests and engage in collective bargaining and decision-making. Any restrictions on freedom of association or barriers that impede women’s access to these enabling rights prevents their involvement, which in turn undermines the effectiveness of social protection policies and programs.

Restrictions on or impediments to the ability of women workers, farmers and fishers to organize themselves also exacerbate the economic and social vulnerability of women. This leads to increased exploitation and abuse – including trafficking and forced labour – which renders social protection both inadequate and meaningless.

In terms of the allocation of resources, social protection should not indirectly subsidize the large-scale commercial fisheries industry. The poverty wages of fisheries workers on vessels and in factories perpetuates poverty in their communities – communities often located in and around commercial fisheries operations. On September 3, 2022, the 4th National Fishworkers Congress in the Philippines established the link between building fisheries workers’ power and a sustainable fishing industry. In this context the Fishworkers Congress identified poverty, debt and lack of access to human rights (food and nutrition, housing, education and health care) as the direct consequence of poverty wages in the private commercial fisheries sector. Orchestrated efforts by employers to prevent union organizing, and repeated violations of the right to freedom of association and collective bargaining guaranteed under ILO Conventions Nos 87 and 98, prevent fisheries workers from collectively bargaining to secure better wages and lift themselves and their families out of poverty.

Collective bargaining in the private commercial fisheries sector to achieve better wages and livelihoods must remain a priority and government financed social protection should not inadvertently subsidize an industry that suppresses rights and perpetuates poverty wages.

Serious and widespread violations of workers’ health and safety rights in the fisheries sector contravene ILO Convention No 155, which is now a fundamental convention. Several members of the fishing community participating in the 4th National Fishworkers Congress in the Philippines described the serious injuries suffered by fishers in the private commercial fishing sector due to unsafe work practices. Unsafe work causes greater injury, long-term illness and inability to work, which in turn increases the burden on social protection programs.

In the Maldives, for example, our affiliate BKMU has the capacity to negotiate catch prices that will increase the incomes and livelihoods of fishers and their families and communities, including migrant workers. However, the new Industrial Relations Bill currently before the parliament threatens to undermine BKMU’s ability to organize and collectively bargain. In the absence of collective bargaining rights, buying companies maintain a monopsony and can manipulate catch prices and reduce the incomes of BKMU members. This results in greater poverty and debt in the communities dependent on these incomes. Turning to social protection is not the answer. The answer in the commercial fisheries sector lies in the exercise of collective bargaining rights to redistribute profit, not the redirection of public resources through social protection.

Social protection is needed most in artisanal fisheries, small-scale extensive aquaculture, the informal sector and home-based work, as well as coastal and inland fishing communities experiencing climate vulnerability. It is a vital part of the strategies needed to urgently address child labour in artisanal fisheries and aquaculture.

The vulnerability of coastal fishing communities to climate change, biodiversity loss and declining aquatic species is a serious concern throughout the region. This has a significant impact on livelihoods and incomes as well as local food security. The effectiveness of social protection depends on a more coherent and comprehensive policy approach that integrates environmental protection and rights. This includes the right of fisherfolk to collective representation in decision-making and the right to food and nutrition. It also needs action by governments to stop industrial pollution killing their livelihoods.

The question of resources also relates to the prevalence of government subsidies for large-scale commercial fishing, especially distant water fishing (DWF). DWF has a significant impact on scarce aquatic resources and threatens to reduce the availability of ocean caught fisheries. This in turn threatens the livelihoods and food security of fishing communities. If left unaddressed, government subsidies for large-scale commercial fishing and DWF fleets will create greater poverty, debt and food insecurity in coastal fishing communities and especially among traditional and indigenous fisherfolk. This then creates the (avoidable) need for more social protection. Yet the effectiveness of this social protection will be continuously undermined as long as the extractive subsidies for the commercial fishing industry continues.

It is in this sense that social protection to secure an equitable “blue transformation” in the fisheries sector requires a significant reallocation of public resources and recognition of workers’ rights. We not only need to increase government funded social protection, but to reduce subsidies for economic activities detrimental to the environment, livelihoods and incomes, and food security. In addition to this, social protection must be financed through a greater allocation of public resources, which places priority on reduced support for extractive or destructive industries, and increased corporate taxes and taxes on the wealthy.

Ultimately social protection must redistribute wealth if any transformation is to be truly equitable and sustainable.

Setelah 20 tahun mega-profit Kecap Bango, Unilever masih menolak memberikan upah yang layak

Setelah 20 tahun mega-profit Kecap Bango, Unilever masih menolak memberikan upah yang layak

Dua puluh tahun setelah mengakuisisi brand Kecap Bango dari kecap manis yang sangat popular di Indonesia, Unilever terus meraup keuntungan yang signifikan dari tahun ke tahun. Cash flow dari brand lokal ini sangat sinifikan sehingga menjadikan Kecap Bango sebagai salah satu brand global teratas di Unilever. Meskipun demikian, lebih dari 700 pekerja di satu-satunya pabrik yang memproduksi Kecap Bango hingga saat ini masih ditolak haknya untuk menegosiasikan upah yang layak.

Setelah dengan pelan-pelan menyusun usaha joint venture  dengan cara memberikan Unilever kendali penuh dan tidak ada tanggung jawab, perusahaan mengklaim bahwa mitra bisnis lokal mereka PT. AMB bertanggung jawab penuh atas tawar-menawar upah. Tetapi system pembayaran Borongan yang dibuat oleh Unilever di bawah lisensi manufakturnya membatasi anggaran yang tersedia untuk biaya tenaga kerja per produk. PT. AMB juga membayar biaya sewa anak perusahaan Unilever untuk segala hal mulai dari mesin dan peralatan hingga perabot kantor setiap bulan. PT. AMB terlilit hutang, hingga meminjam uang dari koperasi karyawan.

Selama lebih dari 8 tahun menajemen lokal telah mengatakan kepada serikat pekerja bahwa mereka tidak memiliki kemampuan untuk menyesuaikan anggaran untuk biaya tenaga kerja tanpa penyesuaian anggaran dari Unilever untuk lisensi manufaktur. Akhirnya pada Juli 2022, Unilever merespons hal tersebut. Namun, alih-alih membayar produk Kecap Bango yang dibuat oleh pabrik dengan cara menjamin upah yang layak, Unilever secara sepihak memperkenalkan perhitungan Living Wage yang membenarkan upah rendah yang selama ini terjadi.

Ketika 680 anggota SPMKB FSBMM yang berafiliasi dengan IUF melanjutkan aksi protes mereka, majemen Unilever malah menjaga jarak dan hanya mengawasi aksi protes tersebut serta lepas tangan terhadap upah dan kondisi kerja yang terjadi. Sementara itu, Unilever terus melakukan pendekatan langsung terhadap keuntungan yang terus mengalir.

Unilever memberi tau para pekerja brand yang membuat salah satu produk teratas dari 28 Sustainable Living Brands, bahwa seragam mereka adalah bagian dari Living Wage mereka

Unilever memberi tau para pekerja brand yang membuat salah satu produk teratas dari 28 Sustainable Living Brands, bahwa seragam mereka adalah bagian dari Living Wage mereka

Selama beberapa tahun lebih dari 680 pekerja yang memproduksi Kecap Bango produk  Unilever, telah memperjuangkan hak untuk merundingkan upah yang adil. Pada tahun 2021, para pekerja melakukan aksi protes menuntut upah layak. Pada Juli 2022, Unilver merespons dengan formula Living Wage global. Menurut Unilever, Living Wage meliputi Seragam Kerja, Piknik Perusahaan (family gathering), BPJS Kesehatan, BPJS Ketenagakerjaan, THR, bahkan Jaminan Kecelakaan Kerja.

Sehingga akibatnya, semua pengeluaran perusahaan ini, termasuk iuran pemberi kerja untuk BPJS Kesehatan, BPJS Ketenagakerjaan, THR yang diwajibkan oleh pemerintah melalui undang-undang, merupakan kontribusi Unilever terhadap kemampuan pekerja untuk memenuho kebutuhan keluarganya. Hal ini menyisakan upah yang sebenarnya dibutuhkan untuk memenuhi kebutuhan keluarganya dan hal tersebut membuat upah actual yang dibutuhkan untuk memenuhi biaya hidup, jauh lebih rendah karena Unilever yakin telah berkontribusi pada biaya hidup tersebut dengan seragam dan family gathering.

Produk yang dibuat oleh pekerja di Pabrik Kecap Bango menghasilkan begitu banyak kekayaan bagi Unilever dan terdaftar dalam 28 Sustainable Living Brands global. Namun, brand tersebut tidak memberikan kontribusi apapun untuk memastikan pekerja dan keluarganya mendapatkan hidup yang layak. Living Wage yang dimiliki Unilever saat ini diberlakukan secara sepihak kepada para pekerjanya di Kecap Bango dan sama sekali tidak memenuhi biaya hidup pokok mereka.

Sementara Unilever mengklaim formula Living Wage ini bersifat global, dengan tidak adanya bukti yang menunjukkan bahwa perhitungan Living Wage untuk pekerja Unilever di Eropa, termasuk family gathering, seragam atau tunjangan sosial dan asuransi kesehatan, bonus tahunan atau jaminan kecelakaan kerja.

Pada saat yang sama, Unilever mempromosikan penggunaan Living Wage yang dihitung oleh Fair Wage Network. Perusahaan mengklaim bahwa Living Wage ditentukan untuk setiap lokasi secara global berdasarkan penilaian biaya hidupnya. Namun tidak ada kejelasan tentang bagaimana biaya hidup yang dinilai dengan cermat menggunakan formula Living Wage yang mencakup Seragam, Family Gathering, dan bonus tahunan. Jawaban yang paling mungkin adalah bahwa rumus Living Wage hanya membantu perusahaan menghasilkan angka yang cukup dekat dengan angka Fair Wage (upah wajar) untuk biaya hidup. Masalahnya adalah seragam, piknik (family gathering), BPJS Ketenagakerjaan dan Jaminan Kecelakaan Kerja tidak membantu pekerja dan keluarganya memenuhi biaya hidup mereka.

Tanggapan dan penggunaan perhitungan Living Wage Unilever yang tidak adil dan tidak rasional serta sama sekali tidak ada hubungannya dengan biaya hidup dan kebutuhan keluarga sangat membuat frustasi. Sehingga para pekerja terus melanjutkan aksi protesnya.

After 20 years of Bango mega-profits, Unilever still refuses decent wages

After 20 years of Bango mega-profits, Unilever still refuses decent wages

Twenty years after acquiring the Bango brand of a massively popular black soybean sauce in Indonesia, Unilever continues to rake in significant profits year on year. The cash flow from this local product is so significant that Bango is among Unilever’s top global brands. Despite this, over 700 workers at the sole factory producing Bango are still denied their right to negotiate decent wages.

Having carefully structured the joint venture in a way that gives Unilever full control and no responsibility, the company claims that the local business partner AMB is solely responsible for wage bargaining. But the piece-rate payment system set up by Unilever under its licensed manufacturing limits the available budget for labour costs per product. AMB also pays Unilever subsidiaries rentals fees for everything from the machinery and equipment to office furniture every month. AMB is so indebted, it borrowed money from the employee cooperative.

For more than 8 years local management has told the union that they have no ability to adjust the budget for labour costs without an adjustment in Unilever’s budget for licensed manufacturing. Finally in July 2022, Unilever responded. But instead of paying for Bango products made at the factory in a way that ensures decent wages, Unilever unilaterally introduced a Living Wage calculation that justifies existing low wages.

As the 680 members of the IUF-affiliated FSBMM SPMKB continue their protest actions, Unilever management keeps its distance, watching the protests and keeping a hands-off approach to wages and working conditions. Meanwhile the company keeps a hands-on approach to profits that continue rolling in.

The 19th protest by FSBMM SPMKB members on September 30, 2022, calling for decent wages to overcome economic hardship is ignored by Unilever.