ආර්ථික සහ සමාජ සාධාරණත්වය සඳහා සංවිධානය වන කාන්තා වෘත්තීය සමිති සඳහා අපගේ කැපවීම නැවත තහවුරු කරමින් එලබෙන් හට ගෞරව කිරීම

ආර්ථික සහ සමාජ සාධාරණත්වය සඳහා සංවිධානය වන කාන්තා වෘත්තීය සමිති සඳහා අපගේ කැපවීම නැවත තහවුරු කරමින් එලබෙන් හට ගෞරව කිරීම

2022 නොවැම්බර් 2 වැනි දින ඉන්දියාවේ ස්වයං රැකියාලාභී කාන්තා සංගමයේ (එස්.ඊ.ඩ්බ්ලිව්.ඒ.) නිර්මාතෘ එලා ආර්. භාත් සොයුරිය අභාවප්‍රාප්ත වීම පිළිබඳව අප දැනගත්තේ මහත් ශෝකයකිනි. අයි.යූ.එෆ්. අනුබද්ධ ආයතන විසින් ආසියා පැසිෆික් කලාපය පුරා විසිරී සිටින එස්.ඊ.ඩ්බ්ලිව්.ඒ. හි සාමාජිකයින්හට ඔවුන්ගේ ශෝකය ප්‍රකාශ කර ඇත.

කාන්තාවන් වෙනුවෙන් යුක්තිය ඉටුකිරීම වෙනුවෙන් කැප වූ ඇයගේ අසාමාන්‍ය ජීවිතය සහ කාන්තා අයිතිවාසිකම් සහ සවිබල ගැන්වීම් සඳහා ඇයගේ ඇදහිය නොහැකි දායකත්වය හඳුනා ගනිමින් පසුගිය දින තුන තුළ, ප්‍රධාන ධාරා මාධ්‍ය, සිවිල් සමාජ සංවිධාන, වෘත්තීය සමිති සහ ශාස්ත්‍රාලික ලෝකය විසින් එලබෙන් ගෞරවය පිණිස දහස් ගණන් උපහාර පළ කර ඇත.

පැහැදිලිවම එලබෙන් ගේ ඉගැන්වීම්, සාරධර්ම සහ මගපෙන්වීම ලොව පුරා කාන්තාවන් සමඟ දිගටම අනුනාද වේ. දේශගුණික අර්බුදය, ආහාර අර්බුදය සහ ගෝලීය ආර්ථික අර්බුදය හමුවේ කාන්තාවන් ප්‍රමුඛ කාර්යභාරයක් ඉටු කරන අන්‍යෝන්‍ය වශයෙන් සහයෝගය දක්වන ප්‍රාදේශීය ප්‍රජාවන් යළි ගොඩනැගීමට සහ ප්‍රතිෂ්ඨාපනය කිරීමට එලබෙන්ගේ කැඳවීම වෙන කවරදාටත් වඩා දැන් අවශ්‍ය වේ. ප්‍රචණ්ඩත්වය, ගැටුම් සහ යුද්ධය පවතින  මෙම බියජනක කාලවලදී මෙන්ම, සාමකාමී පරිවර්තනය සහ ප්‍රචණ්ඩකාරී නොවන මාධ්‍යයන් උදෙසා එලබන් කළ ගැඹුරු කැපවීම උදාහරණය වේ. කාන්තා බලය, ආර්ථික යුක්තිය සහ සාමය යන මේ සම්බන්ධය තුළ ආණ්ඩුවලට කළ නොහැකි පිළිතුරු අපට සොයාගත හැකිය.

එලබෙන් කාන්තා අයිතිවාසිකම් සඳහා පමණක් නොව, කාන්තා කම්කරුවන් සංවිධානය කිරීමට කැප වූ බව ද අපි සිහිපත් කරමු. සවිබල ගැන්වීම සාක්ෂාත් කරගනු ලැබුවේ සම්පත් සඳහා ප්‍රවේශය සහ ව්‍යවසායකත්වය තුළින් කාන්තාවන්ගේ ආදායම් සහ ජීවනෝපායන් වැඩිදියුණු කිරීමෙන් පමණක් නොව, වෘත්තීය සමිතියක සේවකයින් ලෙස ඔවුන්ගේ සාමූහික බලය ක්‍රියාකාරීව ගොඩනැගීමෙනි.

එස්.ඊ.ඩ්බ්ලිව්.ඒ. හි මූලාරම්භය පවතින්නේ එස්.ඊ.ඩ්බ්ලිව්.ඒ. ගෘහ මූලික සහ අවිධිමත් අංශයේ රැකියා රාශියක සේවය කරන කාන්තාවන්ගේ සංවිධානයක් ලෙස පමණක් නොව, කාන්තා කම්කරුවන්ගේ වෘත්තීය සමිතියක් ලෙස ස්ථාපිත කිරීමේ අරගලය තුළ ය. රාජ්‍ය මට්ටමින් කම්කරු දෙපාර්තමේන්තු බලධාරීන් මුලින් එස්.ඊ.ඩ්බ්ලිව්.ඒ. වෘත්තීය සමිතියක් ලෙස ලියාපදිංචි කිරීමට විරුද්ධ වූයේ එහි සාමාජිකයින්ට සේවා යෝජකයෙකු නොමැති බැවිනි. එලබෙන් තර්ක කරන ලද්දේ කාන්තා සේවිකාවන් සමගියෙන් එකට ගෙන ඒම, ඔවුන්ගේ සාමූහික නියෝජනය සහ සාමූහික බලය සහතික කිරීම මත  එස්.ඊ.ඩ්බ්ලිව්.ඒ. වෘත්තීය සමිතියක් බවට පත්වන බව සහ සේවා යෝජකයෙකු සිටීම හෝ නොසිටීම මත එය රඳා නොපවතින බවයි. එස්.ඊ.ඩ්බ්ලිව්.ඒ. පසුව 1972 අප්‍රේල් 12 වන දින වෘත්තීය සමිතියක් ලෙස ලියාපදිංචි විය.

මිලියන සංඛ්‍යාත තරුණ කම්කරුවන් ස්වයං රැකියාලාභීන් ලෙස නම් කර ඇති අතර සාමූහික නියෝජනය සහ සාමූහික බලය සඳහා එක්විය යුතු බැවින් මෙම පාඩම අද අපට වැදගත් වේ. ඔවුන්ට වෘත්තීය සමිතියක් අවශ්‍ය  වන අතර පිහිටුවීමට අයිතියක් ද ඇත.

එස්.ඊ.ඩ්බ්ලිව්.ඒ. විසින් ප්‍රථම වරට ස්වයං රැකියාලාභී කාන්තා සේවිකාවන්ගේ සංවිධානාත්මක, සාමූහික කේවල් කිරීමේ බලය ස්ථාපිත කරන ලදී. බීඩි (දුම්කොළ) කාන්තා සේවිකාවන් විසින් ගැනුම්කරුවන් විසින් ගෙවන ලද මිල ගණන් සාමූහිකව කේවල් කිරීම එස්.ඊ.ඩ්බ්ලිව්.ඒ. හි ඇති අයි.යූ.එෆ්. හි සාමාජිකත්වය අතර සාර්ථකත්වයට දැවැන්ත උදාහරණයකි. කිරි නිෂ්පාදනයෙ නියුතු කාන්තා කම්කරුවන් සම්බන්ධයෙන් ද එම අත්දැකීම නැවත නැවතත් සිදු විය. වෘත්තීය සමිතියක් ලෙස එස්.ඊ.ඩ්බ්ලිව්.ඒ. හි සාමූහික නියෝජනය සහ ශක්තිය එළවළු වෙළෙන්දන්ට සහ ආහාර අලෙවිකරුවන්ට රජයේ බලධාරීන් සමඟ සාකච්ඡා කිරීමේදී ඔවුන්ගේ අයිතිවාසිකම් සහ අවශ්‍යතා ආරක්ෂා කර ගැනීමට ද හැකි විය. එලබෙන්ගේ සාරධර්ම, වැඩ සහ ඇය බලාපොරොත්තු වූ ආර්ථික හා සමාජ සාධාරණත්වය තුළින් ගලා එන බලගැන්වීම මෙයයි. එස්.ඊ.ඩ්බ්ලිව්.ඒ. රාෂ්ට්‍රිය පත්‍රිකා හි පළමු කලාපයෙහි එලබෙන් ලියා ඇති පරිදි 2016 අප්‍රේල් මාසයේදී කාන්තාවන් සංවිධානය කිරීම තුළින් “අවශ්‍ය කටහඬ, දෘශ්‍යභාවය සහ වලංගුභාවය ලබා ගත හැකිය”.

කාන්තා සේවිකාවන් සඳහා ආර්ථික හා සමාජ සාධාරණත්වය සහ ඔවුන්ගේ සාමූහික සවිබල ගැන්වීම සඳහා එලබෙන්ගේ ජීවිත කාලය පුරාවට කරන ලද කැපවීමට ගරු කිරීම සඳහා, අයි.යූ.එෆ්. ආසියා/පැසිෆික් කලාපීය සංවිධානය විසින් එලබෙන්ගේ අදහස්, ලේඛන, පාඩම් සහ ක්‍රියාවන් වෘත්තීය සමිති නායකයින්ගේ තරුණ පරම්පරාවකට ඉගැන්වීම සහතික කරනු ඇත. ඇත්ත වශයෙන්ම, එලබන්ගේ ක්‍රියාවන්, කාන්තා සේවිකාවන් සමඟ කතා කිරීමට, ඔවුන් අතර සිටීමට, ඔවුන්ටම නායකයින් වීමට විශ්වාසය ගොඩනඟා ගැනීමට උපකාර කිරීම අප හට සියල්ලටම වඩා වැදගත් පාඩමයි.

වීදි වෙළෙන්දන් ලෙස ඔවුන්ගේ අයිතිවාසිකම් පිළිබඳ නීතිමය ආරක්ෂාව දිනා ගැනීමෙන් පසු අහමදාබාද්හි එලබෙන් එළවළු වෙළෙන්දන් සමඟ සිටින ඡායාරූපය. ඡායාරූපය 2010 පෙබරවාරි 25 වන දින ඡායාරූප ශිල්පී ටොම් පීට්රාසික් විසින් ගන්නා ලදී.

การคุ้มครองทางสังคมจะมีประสิทธิภาพ เราต้องให้อำนาจผู้หญิง ก้าวหน้าสิทธิคนทำงาน  และกระจายความมั่งคั่งแก่ส่วนรวม

การคุ้มครองทางสังคมจะมีประสิทธิภาพ เราต้องให้อำนาจผู้หญิง ก้าวหน้าสิทธิคนทำงาน และกระจายความมั่งคั่งแก่ส่วนรวม

เป็นที่รู้กันดีว่า การคุ้มครองทางสังคม[1] (social protection) เป็นการสร้างสิ่งแวดล้อมที่เอื้อให้คนทำงานได้ปรับปรุงคุณภาพชีวิตของตน ช่วยรับประกันว่าคนทำงานจะมีรายได้คงที่ และได้ทำงานที่มีความปลอดภัย

การคุ้มครองสังคมดังกล่าวเป็นประโยชน์อย่างยิ่งโดยเฉพาะกับคนทำงานภาคการประมงขนาดเล็ก เกษตรกรรม เกษตรกรชายขอบ  อาชีพอิสระ  รวมทั้งผู้ที่รับงานไปทำที่บ้าน

อย่างไรก็ตาม เมื่อคนทำงานเหล่านี้ตกอยู่ในภาวะเปราะบางในทางกายภาพ สังคมและเศรษฐกิจ พวกเขาจะต้องการการคุ้มครองทางสังคมมากขึ้น แต่ในขณะเดียวกัน สภาวะเปราะบางในมิติต่าง ๆ ที่พวกเขาประสบก็จะทำให้พวกเขาเข้าถึงกลไกการคุ้มครองทางสังคมได้น้อยลง

ประเด็นเรื่องความเปราะบางและการเข้าถึงความคุ้มครองทางสังคมที่มีลักษณะผกผันเช่นนี้ พบได้ทั่วไปในคนทำงานหลากหลายสาขาอาชีพและภาคส่วน โดยเฉพาะอย่างยิ่ง มีหลักฐานสนับสนุนว่า มักพบในคนทำงานอิสระและคนทำงานข้ามชาติ

อย่างไรก็ตาม ทางออกของปัญหาดังกล่าวไม่ใช่การเรียกร้องให้เพิ่มการคุ้มครองทางสังคมมากขึ้น เพราะในกรณีของคนทำงานภาคการประมงนั้น จะเห็นได้ว่าการคุ้มครองทางสังคมเกี่ยวพันกับประเด็นเรื่องสิทธิ และกระบวนการจัดสรรทรัพยากรด้วย กล่าวคือ  การให้ความคุ้มครองทางสังคมแก่คนทำงานในภาคการประมง หรือ ภาคการเกษตรจะมีประสิทธิภาพก็ต่อเมื่อพวกเขาได้เข้าถึงสิทธิ ได้รับการปรับปรุงคุณภาพชีวิตและมีส่วนร่วมในกระบวนการจัดสรรทรัพยากร

นอกจากนี้ การให้คนทำงานผู้หญิงได้มีส่วนร่วมในกระบวนการตัดสินใจ ก็ส่งผลให้การคุ้มครองทางสังคมเกิดประสิทธิภาพมากขึ้น ทั้งช่วยลดปัญหาความยากจน และปรับปรุงคุณภาพชีวิตคนทำงานอีกด้วย กล่าวคือ กระบวนการตัดสินใจนั้นต้องไม่เป็นไปโดยการให้ผู้หญิงเข้ามาเป็นส่วนหนึ่งของกระบวนการในเชิงสัญลักษณ์​หรือในลักษณะที่แน่นิ่ง (passive) เท่านั้น (เช่น การนำผู้หญิงมาเป็นเป้าหมายในการให้ความคุ้มครองทางสังคม)  หรือนำเอาแต่มุมมองเรื่องเพศและมิติเรื่องเพศมาใช้เท่านั้น แต่ต้องให้ผู้หญิงได้เข้ามาร่วมกระบวนการด้วย ผู้หญิงจะต้องได้เข้าร่วมและได้นำเสนอความเห็น ปัญหาจากกลุ่มก้อนของตนเองไม่ว่าพวกเธอจะทำงานในสถานประกอบการหรืออาชีพใดก็ตาม ทั้งเรือกสวนไร่นา หรือในชุมชน และพวกเธอต้องได้มีส่วนร่วมในทุกขั้นตอนของการตัดสินใจ ตั้งแต่การวางแผน ไปจนถึงการนำหลักการหรือนโยบายปฏิบัติใช้ เพื่อให้การคุ้มครองทางสังคมเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพและเสมอภาคอย่างแท้จริง

จึงกล่าวได้ว่าการคุ้มครองทางสังคมจะมีความหมายและประสิทธิภาพมากขึ้นก็ต่อเมื่อผู้หญิงได้มีส่วนรวมโดยตรง และได้นำเสนอเรื่องราวจากกลุ่มก้อนของตนเองในกระบวนการตัดสินใจ ทั้งในการจัดสรรและกระจายทรัพยากรส่วนรวม การประเมินผลติดตาม รวมทั้ง การตรวจตราสอดส่องว่ามีความโปร่งใส เป็นธรรม และสามารถเข้าถึงการคุ้มครองทางสังคมได้

ในทางกลับกัน หากกระบวนการตัดสินใจถูกครอบงำโดยผู้ชาย ความคุ้มครองทางสังคมมักจะมีแนวโน้มสูงว่าจะเป็นไปโดยไม่มีประสิทธิภาพ เนื่องจากมีการจำกัดขอบเขตและการเข้าถึงการคุ้มครองทางสังคม อีกทั้งยังมีแนวโน้มที่จะเกิดการเลือกปฏิบัติต่างๆ การใช้อำนาจโดยมิชอบ รวมทั้งการทุจริต ซึ่งปัจจุบันปัญหาการทุจริตถือเป็นเรื่องแก้ไม่ตกที่บ่อนทำลายโครงการต่างๆ ของการคุ้มครองทางสังคมในประเทศภูมิภาคแถบนี้

นอกจากนี้ การสนับสนุนทรัพยากรแก่สถาบันต่าง ๆ ที่ทำงานอย่างไม่เป็นระบบ ไม่มีความรับผิดชอบและไม่โปร่งใสให้ดำเนินการเรื่องการคุ้มครองทางสังคม มีแต่จะทำให้เกิดความล้มเหลวเพิ่มขึ้น กล่าวคือ ในปัจจุบัน แม้ว่าจะมีเทคโนโลยีใหม่ๆ เข้ามามีบทบาทในการให้ความคุ้มครองทางสังคม แต่ถึงที่สุดเราก็หนีไม่พ้นการกลับไปแก้ไขปัญหาพื้นฐานของสถาบันอยู่ ซึ่งก็คือการให้ผู้หญิงเข้ามามีส่วนร่วมโดยตรงและนำเสนอประเด็นจากกลุ่มก้อนของตนในกระบวนการตัดสินใจ

ตัวอย่างสำคัญเห็นได้จากประเทศอินเดีย ที่มีการคุ้มครองทางสังคมทำงานภายใต้กฎหมายคุ้มครองการจ้างงานชนบทแห่งชาติ (National Rural Employment Guarantee Act, NREGA)  ซึ่งกฎหมายดังกล่าวเกิดขึ้นจากสหภาพแรงงานต่าง ๆ ที่เป็นเอกเทศ มีความเป็นประชาธิปไตย และจัดตั้งโดยกลุ่มผู้หญิง สหภาพเหล่านี้ได้เข้ามามีส่วนร่วมในการร่างกฎหมายและระเบียบปฏิบัติต่างๆ ของกฎหมาย เพื่อให้มั่นใจว่าผู้หญิงได้รับสิทธิต่างๆ จากกฎหมาย NREGA

ในขณะเดียวกันสหภาพแรงงานภายใต้การนำของกลุ่มผู้หญิงเหล่านี้ก็จะดึงผู้มีอำนาจในท้องถิ่นเข้ามามีส่วนร่วมในกฎหมาย เพื่อตรวจตราสอดส่องว่ามีการจัดสรรและกระจายทรัพยากรอย่างเหมาะสม เป็นธรรม และมีประสิทธิภาพ

การที่ผู้หญิงได้มีส่วนร่วมอย่างเป็นกลุ่มก้อนในกระบวนการตัดสินโดยตรง และ ได้นำเสนอเรื่องราวจากกลุ่มของตนนั้น ถือได้ว่าเป็นการใช้สิทธิและเสรีภาพในการรวมกลุ่มกันของผู้หญิง ซึ่งเป็นหลักการสำคัญในอนุสัญญาขององค์การแรงงานระหว่างประเทศฉบับที่ 87  (รวมทั้งอนุสัญญาที่สำคัญอย่างฉบับที่ 11 141 177 ว่าด้วยเรื่องสิทธิในการจัดตั้งกลุ่มหรือสหภาพ ของคนทำงานภาคเกษตร คนทำงานในชนบท และคนที่รับงานไปทำที่บ้าน) กล่าวคือ ผู้หญิงสามารถรวมตัวกันภายใต้กลุ่มก้อนหรือองค์กรที่พวกเธอเลือก และเคลื่อนไหวประเด็นที่กลุ่มตนสนใจ รวมทั้งสามารถเข้าไปมีส่วนร่วมในการต่อรองและตัดสินใจต่างๆได้ หากมีการกีดกันเสรีภาพในการรวมกลุ่ม หรือขัดขวางกลุ่มผู้หญิงไม่ให้มีส่วนรวม ย่อมทำลายประสิทธิภาพของนโยบายและโครงการต่างๆ ของการคุ้มครองทางสังคม

การกีดกันหรือขัดขวางคนทำงานผู้หญิง คนทำงานภาคเกษตรและภาคประมงในการจัดตั้งกลุ่มก้อนของตนเองยังทำให้ผู้หญิงมีความเปราะบางทางด้านเศรษฐกิจและสังคมมากขึ้น ซึ่งนำไปสู่การถูกเอารัดเอาเปรียบ ปัญหาการค้ามนุษย์ และการบังคับทำงานเพิ่มมากขึ้น ซึ่งส่งผลให้การคุ้มครองทางสังคมไม่ทั่วถึงและเปล่าประโยชน์

นอกจากนี้เรายังไม่ควรจัดสรรทรัพยากรและการคุ้มครองทางสังคมแก่อุตสาหกรรมประมงเชิงพาณิชย์ขนาดใหญ่ เพราะคนทำงานในภาคประมง ทั้งที่อยู่บนเรือและในโรงงานล้วนได้รับค่าแรงยากจน[2] (poverty wage) ซึ่งมีแต่จะหล่อเลี้ยงให้พวกเขาและชุมชนยากจนต่อไปเท่านั้น โดยชุมชนชาวประมงเหล่านี้ส่วนใหญ่มักจะอาศัยอยู่บริเวณที่ตั้งของแหล่งหาปลาเชิงพาณิชย์

จากการประชุมสภาชาวประมงระดับชาติของฟิลิปินส์ครั้งที่ 4 ในวันที่ 3 กันยายน 2565 ที่ผ่านมาได้มีการเสนอวิธีการสร้างอำนาจให้กับชาวประมง ซึ่งสัมพันธ์กับการทำอุตสาหกรรมการประมงแบบยั่งยืน การประชุมดังกล่าววิเคราะห์ว่า ปัญหาความยากจน หนี้สิน และการขาดการเข้าถึงสิทธิมนุษยชน (การเข้าถึงอาหาร โภชนาการ ที่พักอาศัย การศึกษา และการให้บริการสุขภาพ) เป็นผลพวงโดยตรงจากค่าแรงยากจนที่มาจากภาคส่วนอุตสาหกรรมการประมงเชิงพาณิชย์

นายจ้างจากอุตสาหกรรมประมงเชิงพาณิชย์เหล่านี้ มักจะขัดขวางการจัดตั้งสหภาพแรงงานและละเมิดสิทธิและเสรีภาพในการรวมกลุ่มและรวมตัวต่อรองของคนทำงาน ซึ่งเป็นหลักการในอนุสัญญาองค์การแรงงานระหว่างประเทศฉบับที่ 87 และ 98  นายจ้างเหล่านี้เองเป็นตัวการสำคัญที่ขัดขวางคนทำงานประมงไม่ให้สามารถรวมตัวเพื่อต่อรองเรื่องค่าแรง ทั้งที่การเพิ่มค่าแรงจะช่วยยกระดับชีวิตของพวกเขาและครอบครัวให้พ้นจากความจนได้

ในการบรรลุเป้าหมายที่ให้คนทำงานได้มีค่าแรงที่ดีขึ้น และมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น จะต้องให้ความสำคัญกับการรวมตัวต่อรอง (collective bargaining) ของคนทำงานในภาคส่วนอุตสาหกรรมประมงเชิงพาณิชย์ รัฐบาลไม่ควรให้เงินอุดหนุนแก่อุตสาหกรรมดังกล่าวซึ่งเป็นอุตสาหกรรมที่กดขี่สิทธิคนทำงานในด้านต่างๆ และหล่อเลี้ยงวงจรความยากจนเอาไว้

นอกจากนี้ เรายังจะเห็นอุตสาหกรรมประมงเชิงพาณิชย์ ละเมิดสิทธิเรื่องการทำงานอย่างปลอดภัยร้ายแรงเป็นจำนวนมาก ซึ่งการกระทำดังกล่าวขัดต่อหลักอนุสัญญาองค์การแรงงานนานาชาติฉบับที่ 155 ซึ่งเป็นหลักการพื้นฐานที่สำคัญ ในการประชุมสภาชาวประมงครั้งที่ 4 ที่ประเทศฟิลิปินส์ สมาชิกของชุมชนชาวประมงหลายคนได้เล่าถึงการอาการบาดเจ็บร้ายแรงต่างๆที่เกิดจากการทำงานที่ไม่ปลอดภัยของอุตสาหกรรมประมงพาณิชย์

การทำงานที่ไม่มีความปลอดภัยเหล่านี้ส่งผลให้คนทำงานบาดเจ็บ และป่วยไข้โดยโรคต่างๆในระยะยาวได้ ตลอดจนเหตุทุพลภาพที่ทำให้พวกเขาไม่สามารถทำงานได้ และสุดท้ายก็กลายเป็นภาระหนักให้กับโครงการการคุ้มครองทางสังคมอีก

ตัวอย่างหนึ่งที่สำคัญเห็นได้จาก สหภาพคนทำงานประมง BKMU ในประเทศมัลดีฟส์ ซึ่งเป็นสมาชิกของเรา กล่าวคือ ก่อนหน้านี้สหภาพดังกล่าวมีความสามารถในการต่อรองราคารับซื้อสัตว์ทะเล ทำให้พวกเขามีรายได้เพิ่มขึ้นและมีคุณภาพชีวิตตนครอบครัวและชุมชน รวมทั้งคนทำงานข้ามชาติที่ดีขึ้น

อย่างไรก็ตาม รัฐบาลประเทศมัลดีฟส์ชุดก่อนหน้าได้ประกาศใช้กฎหมายอุตสาหกรรมสัมพันธ์ฉบับใหม่ กฎหมายดังกล่าวได้คุกคามสิทธิและเสรีภาพในการจัดตั้งและรวมตัวต่อรองของสหภาพ  ปรากฏการณ์ดังกล่าวส่งผลให้สหภาพขาดอำนาจในการรวมกลุ่มต่อรอง และเกิดการผูกขาดการรับซื้อสัตว์ทะเลไว้กับบริษัทเพียงแห่งเดียว ส่งผลให้บริษัทดังกล่าวสามารถกำหนดราคารับซื้อได้ด้วยตนเอง ซึ่งทำให้รายได้ของสมาชิกสหภาพ BKMU ลดลง และชุมชนที่มีรายหลักจากการทำประมงยากจนขึ้น และเกิดปัญหาหนี้สินมากขึ้น

ฉะนั้นแล้ว การคุ้มครองทางสังคมจึงไม่ใช่การแก้ปัญหาที่ถูกจุด วิธีการแก้ปัญหาที่ถูกต้องคือ การให้ชาวประมงที่ทำงานในประมงพาณิชย์มีสิทธิรวมกลุ่มต่อรอง เพื่อกระจายผลกำไรของบริษัทมายังพวกเขา ไม่ใช่ขอรับความช่วยเหลือจากรัฐผ่านการคุ้มครองทางสังคมแต่เพียงอย่างเดียว

อย่างไรก็ตาม การคุ้มครองทางสังคม ยังมีความจำเป็นในการนำไปใช้ช่วยเหลือชาวประมงพื้นบ้านและชาวประมงขนาดเล็ก คนทำงานอิสระ และคนที่รับงานไปทำที่บ้าน รวมทั้งชุมชนจับสัตว์ทะเลที่อาศัยตามชายฝั่งที่ประสบปัญหาการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ รวมทั้งปัญหาเรื่องแรงงานเด็กในการประมงพื้นบ้านและการจับสัตว์ทะเลที่ต้องเร่งแก้ปัญหาอีกด้วย

นอกจากนี้ ในการสร้างการคุ้มครองทางสังคมให้เกิดประสิทธิภาพ จะต้องพิจารณาประเด็นเรื่องความเปราะบางของชุมชนจับสัตว์ทะเลที่อาศัยตามชายฝั่งที่ได้รับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ การสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพของสัตว์ทะเล และ การลดลงของจำนวนพันธ์ุสัตว์ทะเล  ประเด็นเหล่านี้ถือเป็นปัญหาร้ายแรงที่เกิดขึ้นทั่วภูมิภาค ซึ่งส่งผลกระทบอย่างมากต่อวิถีชีวิตและรายได้ของชาวประมง รวมทั้งความมั่นคงทางอาหารทะเล

อาจกล่าวได้ว่า การคุ้มครองทางสังคมจะเกิดประสิทธิภาพ จะต้องผนวกประเด็นเรื่องการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมและการเข้าถึงสิทธิต่าง ๆ มาไว้ในนโยบายและแผนปฏิบัติงานอย่างรอบด้านและอย่างเป็นระบบ ในเรื่องสิทธินั้น จะต้องควบรวมไปถึงเรื่องสิทธิในการมีส่วนร่วมในการตัดสินใจของกลุ่มชาวประมง และสิทธิในการเข้าถึงแหล่งอาหารและโภชนาการ โดยรัฐบาลจะต้องแก้ปัญหาเรื่องการปล่อยมลพิษจากอุตสาหกรรมที่ทำลายวิถีชีวิตของชาวประมงอย่างจริงจังร่วมด้วย

อย่างไรก็ตาม รัฐบาลมักจะให้เงินอุดหนุนรวมทั้งกระจายทรัพยากรไปยังการประมงพาณิชย์ขนาดใหญ่

โดยเฉพาะอย่างยิ่งการประมงสากล (distant water fishing, DWF) ซึ่งการประมงสากลนั้นส่งผลต่อการลดลงของจำนวนสัตว์ทะเล ซึ่งสร้างผลกระทบต่อการจับสัตว์ทะเลต่อทั้งมหาสมุทร ในแง่นี้การประมงสากลจึงคุกคามวิถีชีวิตความเป็นอยู่และความมั่นคงทางอาหารของชุมชนชาวประมง หากปัญหาการอุดหนุนเงินของรัฐให้กับการประมงพาณิชย์ขนาดใหญ่และการประมงสากลเหล่านี้ยังไม่ถูกพูดถึง จะทำให้ชุมชนชาวประมงตามชายฝั่งเกิดปัญหาความยากจน หนี้สิน และความมั่นคงทางอาหารมากขึ้น โดยเฉพาะชุมชนประมงพื้นบ้านต่างๆ และชาวประมงชาติพันธุ์ สุดท้ายก็จะทำให้พวกเขาต้องการการคุ้มครองทางสังคมเพิ่มมากขึ้น (อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้) ฉะนั้นแล้ว ประสิทธิภาพของการคุ้มครองทางสังคมจะถูกทำลาย หากรัฐบาลยังมีการอุดหนุนเงินและทรัพยากรให้กับอุตสาหกรรมประมงเชิงพาณิชย์เหล่านี้

ด้วยเหตุนี้เอง หากต้องการให้การคุ้มครองทางสังคมมี “การเปลี่ยนแปลงสีคราม”[3] (blue transformation) ในภาคส่วนการประมงอย่างเสมอภาค จะต้องมีการจัดสรรทรัพยากรส่วนรวมใหม่และตระหนักถึงสิทธิคนทำงานด้วย

ฉะนั้นแล้ว เราไม่ต้องการให้รัฐเพิ่มกองทุนการคุ้มครองทางสังคมเท่านั้น แต่เราต้องการให้รัฐหยุดอุดหนุนกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่ส่งผลเสียต่อสิ่งแวดล้อม ความเป็นอยู่ รายได้ และความมั่นคงทางอาหาร อีกด้วย นอกจากนี้ เราต้องการให้การคุ้มครองทางสังคมให้ความสำคัญกับการจัดสรรทรัพยากรส่วนรวมมากขึ้น โดยลดการอุดหนุนอุตสาหกรรมที่ดูดกลืนและทำลายทรัพยากรของคนส่วนใหญ่ เพิ่มการจัดเก็บภาษีบริษัทเหล่านี้และภาษีคนรวยให้มากขึ้น

สุดท้ายแล้วจะเห็นได้ว่า การคุ้มครองทางสังคมจะเกิดได้ จะต้องมาจากการกระจายความมั่งคั่งร่วมด้วย เพื่อสร้างการเปลี่ยนแปลงที่เสมอภาคและยั่งยืนอย่างแท้จริง

[1] การคุ้มครองทางสังคม หมายถึง การจัดระบบหรือมาตรการรูปแบบต่างๆ เพื่อคุ้มครองสิทธิขั้นพื้นฐานของประชาชนทุกคนตามที่รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยบัญญัติไว้ ไม่ว่าจะเป็นบริการสังคม การประกันสังคม การช่วยเหลือทางสังคม  ปัจจุบันปประเทศไทยมีระบบความคุ้มครองทางสังคม 2 รูปแบบ ได้แก่ สวัสดิการทางสังคม เช่น เช่น การแจกบัตรสวัสดิการแห่งรัฐ บัตรคนจน บัตรประชารัฐ บัตรสงเคราะห์ต่างๆ  และ ประกันสังคม

[2] ค่าแรงยากจน (poverty wage)  คือ  ค่าแรงที่มีมูลค่าไม่เพียงพอแก่ค่าครองชีพและความต้องการพื้นฐานของปัจเจกบุคคลในชีวิตประจำวัน และการอยู่อาศัยในพื้นที่นั้นๆ ส่งผลให้คนทำงานอาจงานนอกเวลา รับงานเสริม เกิดหนี้สิน รวมทั้งส่งผลกระทบต่อคุณภาพชีวิตความเป็นอยู่ สุขภาพ และชีวิตสมาชิกในครอบครัวที่ต้องเลี้ยงดู ตลอดจนการเข้าถึงโอกาสต่างๆ ในชีวิต การคำนวนค่าแรงยากจน ค่าแรงยากจนสามารถคำนวนได้จากดูว่าค่าแรงที่ได้รับต่ำกว่าเส้นแบ่งความยากจนหรือไม่

ค่าแรงยากจนสามารถประเมินได้ คือค่าแรงที่อยู่ต่ำกว่าเส้นความยากจน (poverty line) ซึ่งถูกกำหนดขึ้นเพื่อให้เป็นเครื่องมือพื้นฐานในการแบ่งแยกคนจนและคนไม่จนออกจากกัน เพื่อรัฐบาลจะได้หานโยบายช่วยเหลือได้ถูกกลุ่มเป้าหมาย  โดยบุคคลที่ดำรงชีวิตต่ำกว่าเส้นความยากจนจะถือว่าบุคคลนั้นเป็นคนจน ในปี 2558 เส้นความยากจน มีค่าเท่ากับ 2,644 บาท ต่อคน ต่อเดือนเดือน อย่างไรก็ตามเกณฑ์ดังกล่าวเป็นที่ถกเถียงว่า ไม่สามารถประเมินได้อย่างแม่นยำนัก

[3] การเปลี่ยนแปลงสีคราม (blue transformation) เป็นวิสัยทัศน์หนึ่งจากองค์การสหประชาชาติ ในส่วนงานของอาหารและเกษตรกรรม ที่มุ่งหมายให้เกิดการจัดสรรทรัพยากรและระบบอาหารจากท้องทะเลอย่างเท่าเทียม โดยกระจายโอกาสให้กลุ่มผู้เปราะบางทางสังคมได้เข้าถึงอาหารทะเลที่มีโภชนาการและราคาจับต้องได้ ในขณะเดียวกันก็ส่งเสริมกลุ่มและชุมชนชาวประมงให้สามารถทำการประมงและการเกษตรได้อย่างยั่งยืน รวมทั้งส่งเสริมการอนุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพทางทะเล และสิ่งแวดล้อมทางทะเลไปด้วย

महिलाओं की अधिक शक्ति के बिना, लैंगिक परिप्रेक्ष्य और लिंग आधारित दृष्टिकोण केवल दृष्टिकोण हैं।

महिलाओं की अधिक शक्ति के बिना, लैंगिक परिप्रेक्ष्य और लिंग आधारित दृष्टिकोण केवल दृष्टिकोण हैं।

आज संगठनों/सरकारें/कंपनियां के भाषणों, बैठकों, सम्मेलनों और नीति दस्तावेजों में यह तेजी से सामान्य हो गया है की उन्होंने लिंग-आधारित दृष्टिकोण या लैंगिक परिप्रेक्ष्य को शामिल किया है और उसकी पुष्टि की है।

और निश्चित रूप से हम लैंगिक परिप्रेक्ष्य को शामिल करते हैं और महिलाओं की महत्वपूर्ण भूमिका को पहचानते हैं।

यह “बेशक” है जो हमें परेशान करना चाहिए। तात्पर्य यह है कि यह इतना स्पष्ट है कि हमें इसमें संदेह नहीं करना चाहिए। यह स्पष्ट है की यह उच्चारित है, लेकिन यह किसी तरह से बचाव के लिए भी इस्तेमाल किया जाता है। यह लिंग के दृष्टिकोण और महिलाओं की भूमिका को ध्यान में रखने में विफल रहने के लिए आलोचना के खिलाफ लगभग एक बीमा पॉलिसी की तरह है। लेकिन हम अक्सर सोचते रह जाते हैं कि वास्तव में लैंगिक दृष्टिकोण को कैसे शामिल किया गया था, महिलाओं ने इसमें कैसे भाग लिया (जो भी हो), और क्या महिलाओं ने वास्तव में इसके परिणाम को आकार दिया? हम पूछते रह जाते हैं, “ठीक है, लेकिन क्या यह लिंग परिप्रेक्ष्य से वास्तव में कुछ भी बदलाव आया?”

संयुक्त राष्ट्र एजेंसियों, विश्व बैंक और इसके अंतर्राष्ट्रीय वित्त निगम (IFC) और IMF सहित कई अंतर्राष्ट्रीय संस्थानों से हाल की रिपोर्टों और नीति दस्तावेजों को पढ़े तोह  लैंगिक परिप्रेक्ष्य, लिंग-आधारित दृष्टिकोण और लिंग-संवेदनशीलता नीतियां के निरंतर संदर्भ हैं। अब लिंग आधारित लचीलापन भी है।

पूरे अध्याय लैंगिक दृष्टिकोण को समर्पित हैं। ज्यादातर मामलों में महिलाएं सिर्फ अब आँकड़ों में शामिल हैं। तथ्यों और आंकड़ों में लिंग के आंकड़े है जो एक दशक पहले नहीं थे। इसलिए आंकड़ों में पहली बार महिलाएं दिख रही हैं। सरकारें, कंपनियाँ और अंतर्राष्ट्रीय एजेंसियाँ अब “बेशक” कह सकती हैं। लेकिन इन आंकड़ों का क्या होता है? यह महिलाओं की स्थिति को कैसे बदलता है? महिलाएं अपनी स्थिति को बदलने के लिए इसका उपयोग कैसे करती हैं? क्या अब से दस साल बाद के आंकड़े यह बदलाव दिखाएंगे? (महामारी के दौरान आंकड़े बदल गए। लिंग वेतन अंतर फिर से बढ़ गया, जिससे महिलाएं एक दशक या उससे अधिक समय पीछे चली गईं।)

इन लैंगिक दृष्टिकोणों में मामले के अध्ययन, कहानियों और महिलाओं की आवाज वाले बक्से हैं। या अधिक सटीक रूप से, एक महिला की आवाज: एक महिला जो गरीबी से बाहर निकलने के लिए या हाशिये से अपना रास्ता निकालने के लिए पर्याप्त रूप से साधन संपन्न थी। इसमें कोई शक नहीं कि यह एक संघर्ष था और हम इसका पूरा सम्मान करते हैं। लेकिन कई बार यह व्यक्तिगत महिलाओं के बारे में है। महिलाओं का समूह नहीं। सामूहिक रूप से संगठित महिलाएं नहीं। ऐसी महिलाएँ नहीं जिनकी संयुक्त शक्ति ने पुरुषों के विशेषाधिकार, शक्ति और स्थिति को बाधित किया।

ये सफलता की कहानियां बताती हैं कि कैसे महिलाओं (या एक महिला) ने लैंगिक अंतर को खत्म कर दिया और जो कुछ भी पुरुष कर रहे थे, वहां तक पहुंच गए या उससे आगे निकल गए। दोबारा, हम इसे हल्के में नहीं लेते हैं और हम इसका सम्मान करते हैं कि यह कितना कठिन है। लेकिन हम शायद ही कभी इस लिंग-आधारित दृष्टिकोण या लिंग परिप्रेक्ष्य में पुरुषों को अंतर को ख़त्म करने के लिए कुछ करते हुए देखते हैं। पुरुष स्थिर रहते हैं, जहां पुरुष हैं, वहां पहुंचने के लिए महिलाएं दस गुना अधिक मेहनत करती हैं। दूसरे शब्दों में, पुरुष पितृसत्ता के विशेषाधिकार और शक्ति को बनाए रखते हैं और महिलाओं को यह पता लगाना होता है कि उन्हें कैसे पार करना है।

मुद्दा यह है कि लिंग परिप्रेक्ष्य और लिंग आधारित दृष्टिकोण अर्थहीन हैं यदि वे शक्ति के मुद्दे को संबोधित नहीं करते हैं। विस्तार से, लैंगिक दृष्टिकोण और लिंग-आधारित दृष्टिकोण केवल तभी मायने रखते हैं जब वे मूलभूत परिवर्तन लाने के लिए महिलाओं को अपनी सामूहिक शक्ति का प्रयोग करने के लिए संगठित करने में योगदान करते हैं। लैंगिक परिप्रेक्ष्य स्थिर दृष्टिकोण नहीं होना चाहिए (एक स्नैपशॉट, प्रोफ़ाइल या डेटासेट)। यह महिलाओं के प्रणालीगत और संस्थागत भेद्यता और हाशिए पर, महिलाओं के सामूहिक आत्मविश्वास और उनकी संगठित करने की क्षमता, और भेदभाव, उत्पीड़न और शोषण को दूर करने के लिए महिलाओं के सामूहिक संघर्ष के बीच अंतःक्रिया की एक गतिशील प्रक्रिया होनी चाहिए।

जैसा कि मैंने कहीं और तर्क दिया है: पितृसत्ता एक रवैया नहीं है। यह महिलाओं के दमन और शोषण के लिए बनाई गई सत्ता (एक शासन व्यवस्था) की व्यवस्था है। यह जानबूझकर मज़दूर वर्ग की सामूहिक शक्ति को प्रतिबंधित करता है और हमारे संगठनों की शक्ति को कमजोर करता है। यह सांस्कृतिक नहीं है, यह राजनीतिक है।

लैंगिक परिप्रेक्ष्य और लिंग आधारित दृष्टिकोण सार्थक होने के लिए, उन्हें राजनीतिक होना चाहिए। परिणामी होने के लिए उन्हें महिलाओं की सामूहिक शक्ति को बढ़ाने में योगदान देना चाहिए।

इस संदर्भ में हमें लैंगिक दृष्टिकोण और लिंग आधारित दृष्टिकोणों को शामिल करने के लिए किसी भी दावे का आलोचनात्मक मूल्यांकन करने की आवश्यकता है। हमें यह पूछना चाहिए कि निर्णय लेने में महिलाओं के पास अधिक शक्ति कैसे हो? कार्रवाई और उसके परिणामों दोनों को निर्धारित करने के लिए महिलाओं का अधिक नियंत्रण (संसाधनों के आवंटन और अधिकारों और प्रतिनिधित्व के प्रयोग में) कैसे होता है? महिलाएं इन लाभों को संस्थागत बनाने (लॉक इन) करने के लिए अपनी सामूहिक शक्ति का उपयोग कैसे करती हैं और यह सुनिश्चित करती हैं कि जो कुछ भी लड़ कर हासिल किया है उसे वापस नहीं छिना जा सके?

यदि अनुसंधान, नीतियों, कार्यक्रमों और राज्य के कार्यों में लैंगिक दृष्टिकोण निर्णय लेने और संसाधनों पर नियंत्रण में महिलाओं के लिए अधिक शक्ति की गारंटी नहीं देता है, तो वे केवल दृष्टिकोण हैं। बेशक  तब कुछ नहीं बदलेगा, सब कुछ वैसा ही रहेगा।

आर्थिक और सामाजिक न्याय के लिए महिलाओं को संगठित करने के प्रति अपनी प्रतिबद्धता की पुष्टि करते हुए इलाबेन का सम्मान

आर्थिक और सामाजिक न्याय के लिए महिलाओं को संगठित करने के प्रति अपनी प्रतिबद्धता की पुष्टि करते हुए इलाबेन का सम्मान

हमें बहुत दुःख के साथ 2 नवंबर, 2022 को बहन इला आर. भट्ट के निधन के बारे में पता चला। इलाबेन भारत में स्व-नियोजित महिला संगठन (सेवा) की संस्थापक थी। पूरे एशिया-पसिफ़िक क्षेत्र में IUF सदस्यों ने सेवा के सदस्यों के प्रति संवेदना व्यक्त कि है।

पिछले तीन दिनों में, मेनस्ट्रीम मीडिया, सिविल सोसाइटी संगठनों, ट्रेड यूनियनों और शैक्षणिक जगत द्वारा इलाबेन के सम्मान में हजारों श्रद्धांजलि प्रकाशित की गई हैं, जिनमें महिलाओं के लिए न्याय के लिए प्रतिबद्ध उनके असाधारण जीवन और महिलाओं के अधिकारों और सशक्तिकरण में उनके अविश्वसनीय योगदान को मान्यता दी हैं।

इलाबेन की शिक्षाएं, मूल्य और मार्गदर्शन दुनिया भर की महिलाओं के साथ प्रतिध्वनित होते रहेंगे। जलवायु संकट, खाद्य संकट और वैश्विक आर्थिक संकट के सामने अब पहले से कहीं अधिक आवश्यक स्थानीय समुदायों के पुनर्निर्माण और पुनर्निर्माण के लिए इलाबेन के आह्वान की जरूरत है, जिसमें महिलाओं की प्रमुख भूमिका होगी। हिंसा और युद्ध के इस भयावह समय में शांतिपूर्ण परिवर्तन और अहिंसक साधनों के लिए इलाबेन की गहरी प्रतिबद्धता उतनी ही महत्वपूर्ण है। नारी शक्ति, आर्थिक न्याय और शांति के इस गठजोड़ में ही हमें उत्तर मिलते हैं जो सरकारों के पास नहीं है।

हम यह भी याद करते हैं कि इलाबेन न केवल महिलाओं के अधिकारों के लिए प्रतिबद्ध थीं, बल्कि महिला श्रमिकों को संगठित करने के लिए भी प्रतिबद्ध थीं।सशक्तिकरण न केवल सिर्फ संसाधनों और उद्यमिता तक पहुंच के माध्यम से महिलाओं की आय और आजीविका में सुधार कर के प्राप्त किया गया है, बल्कि सक्रिय रूप से एक ट्रेड यूनियन में श्रमिकों के रूप में उनकी सामूहिक शक्ति का निर्माण करके हासिल किया गया है।

सेवा का मूल उद्गम सेवा को न केवल घर-खाता और अनौपचारिक क्षेत्र के व्यवसायों में काम करने वाली महिलाओं के एक संगठन के रूप में, बल्कि महिला श्रमिकों के एक ट्रेड यूनियन के रूप में स्थापित करने के संघर्ष में निहित है। राज्य स्तर पर श्रम विभाग के अधिकारियों ने शुरू में एक ट्रेड यूनियन के रूप में सेवा के पंजीकरण का विरोध किया क्योंकि इसके सदस्यों का कोई नियोक्ता नहीं है। इलाबेन ने तर्क दिया कि महिला श्रमिकों को एक साथ आना – उनका सामूहिक प्रतिनिधित्व और सामूहिक शक्ति सुनिश्चित करना – सेवा को एक ट्रेड यूनियन बनाता है, न कि किसी नियोक्ता की उपस्थिति या अनुपस्थिति। फिर 12 अप्रैल, 1972 को सेवा का ट्रेड यूनियन के रूप में पंजीकृत किया गया।

यह शिक्षा आज भी हमारे लिए महत्वपूर्ण है क्योंकि लाखों युवा श्रमिकों को स्वरोजगार के रूप में नामित किया गया है और उन्हें सामूहिक प्रतिनिधित्व और सामूहिक शक्ति बनाने के लिए एक साथ आने की जरूरत है। उन्हें ट्रेड यूनियन बनाने की जरूरत है – और अधिकार है।

सेवा ने पहली बार संगठित स्व-नियोजित महिला श्रमिकों की सामूहिक सौदेबाजी की शक्ति की स्थापना की। सेवा में IUF की सदस्यता के बीच, बीड़ी (तंबाकू) महिला श्रमिकों की सामूहिक रूप से खरीदारों द्वारा भुगतान की गई कीमतों पर सौदेबाजी करने की जबरदस्त सफलता इसका एक उदाहरण है। महिला डेरी श्रमिकों के साथ भी यही अनुभव दोहराया गया। ट्रेड यूनियन के रूप में सेवा के सामूहिक प्रतिनिधित्व और ताकत ने भी फल-सब्जी विक्रेताओं और खाद्य विक्रेताओं को सरकारी अधिकारियों के साथ बातचीत करने में अपने अधिकारों और हितों की रक्षा करने में सक्षम बनाया। यह इलाबेन के मूल्यों और कार्यों और उस आर्थिक और सामाजिक न्याय से बहने वाला सशक्तिकरण है जिसकी उन्हें आशा थी। जैसा कि इलाबेन ने अप्रैल 2016 में सेवा राष्ट्रीय पत्रिका के पहले अंक में लिखा था, महिलाओं को संगठित करके “अति आवश्यक आवाज, दृश्यता और सत्यापन प्राप्त कर सकते हैं”

महिला श्रमिकों के लिए आर्थिक और सामाजिक न्याय और उनके सामूहिक सशक्तिकरण के लिए इलाबेन की आजीवन प्रतिबद्धता का सम्मान करने के लिए, आईयूएफ एशिया/पसिफ़िक क्षेत्रीय संगठन यह सुनिश्चित करेगा कि इलाबेन के विचार, लेखन, सबक और कार्यों को ट्रेड यूनियन नेताओं की एक युवा पीढ़ी को सिखाया जाए। वास्तव में, ये इलाबेन की क्रिया हैं- महिला श्रमिकों से बात करने के लिए बाहर जाना, उनके बीच रहना, उनमें खुद नेता बनने के लिए आत्मविश्वास पैदा करने में मदद करना- यह हमारा सबसे महत्वपूर्ण सबक है।

स्ट्रीट वेंडर के रूप में अपने अधिकारों का कानूनी संरक्षण जीतने के बाद अहमदाबाद में सब्जी विक्रेताओं के साथ  इलाबेन की तस्वीर। यह तस्वीर 25 फरवरी, 2010 को फोटोग्राफर टॉम पिएत्रसिक द्वारा ली गई है।

महिला श्रमिकों के लिए आर्थिक और सामाजिक न्याय और उनके सामूहिक सशक्तिकरण के लिए इलाबेन की आजीवन प्रतिबद्धता का सम्मान करने के लिए, आईयूएफ एशिया/पसिफ़िक क्षेत्रीय संगठन यह सुनिश्चित करेगा कि इलाबेन के विचार, लेखन, सबक और कार्यों को ट्रेड यूनियन नेताओं की एक युवा पीढ़ी को सिखाया जाए। वास्तव में, ये इलाबेन की क्रिया हैं- महिला श्रमिकों से बात करने के लिए बाहर जाना, उनके बीच रहना, उनमें खुद नेता बनने के लिए आत्मविश्वास पैदा करने में मदद करना- यह हमारा सबसे महत्वपूर्ण सबक है।

स्ट्रीट वेंडर के रूप में अपने अधिकारों का कानूनी संरक्षण जीतने के बाद अहमदाबाद में सब्जी विक्रेताओं के साथ  इलाबेन की तस्वीर। यह तस्वीर 25 फरवरी, 2010 को फोटोग्राफर टॉम पिएत्रसिक द्वारा ली गई है।

ආර්ථික සහ සමාජ සාධාරණත්වය සඳහා සංවිධානය වන කාන්තා වෘත්තීය සමිති සඳහා අපගේ කැපවීම නැවත තහවුරු කරමින් එලබෙන් හට ගෞරව කිරීම

ٹریڈ یونین  کی خواتین معاشی اور سماجی انصاف کے لیےایلایبن کے اعزازمیں آپنےعزم کا اعادہ کرتی ہیں

یہ انتہائی افسوس کے ساتھ ہے کہ ہمیں 2 نومبر 2022 کو بھارت میں سیلف ایمپلائیڈ ویمنز ایسوسی ایشن کی بانی سسٹر ایلا آر بھٹ کے انتقال کا علم ہوا۔پورے ایشیاء پیسیفک ریجن میں آئی یو ایف سے وابستہ افراد نے سیلف ایمپلائیڈ ویمنز ایسوسی ایشن کے اراکین سے تعزیت کا اظہار کیا ہے۔

گزشتَہ تین دنوں کے دوران، مین اسٹریم میڈیا، سول سوسائٹی کی تنظیموں، ٹریڈ یونینز اور علمی دنیا کی طرف سے ایلابین کے اعزاز میں ہزاروں خراج تحسین  مضا  مین شائع کیے گئے ، جن میں خواتین کے لیے انصاف ، عزم، غیر معمولی زندگی اور خواتین کے حقوق اور بااختیار بنانے کے لیے ان کی ناقابل بیان شراکت کو تسلیم کیا گیا ہے۔

واضح طور پر ایلابین کی تعلیمات، اقدار اور رہنمائی دنیا بھر کی خواتین کے ساتھ ملتی جلتی ہے۔ایلابین کا باہمی تعاون کرنے والی مقامی کمیونٹیز کی تعمیر نو اور بحالی کا مطالبہ جس میں خواتین اہم کردار ادا کرتی ہیں، موسمیاتی بحران، خوراک کے بحران اور عالمی اقتصادی بحران کے تناظر میں اب پہلے سے کہیں زیادہ ضروری ہوگیا ہے۔تشدد، تصادم اور جنگ کے ان خوفناک وقتوں میں جتنا اہم ہے، یہ ایلابین کی پرامن تبدیلی اور عدم تشدد کے طریقوں کے لیے گہری وابستگی کی مثال ہے۔ خواتین کی طاقت، معاشی انصاف اور امن کے اس گٹھ جوڑ میں ہی ہمیں وہ جواب ملتے ہیں جو حکومتیں نہیں کر سکتیں۔

ہمیں یہ بھی یاد ہے کہ ایلابین نہ صرف خواتین کے حقوق کے لیے بلکہ خواتین کارکنوں کو منظم کرنے کے لیے بھی پرعزم تھیں۔بااختیار بنانا نہ صرف وسائل تک رسائی اور کاروبار کے ذریعے خواتین کی آمدنی اور معاش میں بہتری کے ذریعے حاصل کیا گیا بلکہ ٹریڈ یونین میں کارکنوں کے طور پر ان کی اجتماعی طاقت کو فعال طور پر استوار کرنے سے حاصل کیا گیا۔

سیواکی ابتدا کی جد و جہد میں سیواکو نہ صرف گھریلو اور غیر رسمی شعبوں میں کام کرنے والی خواتین کی ایک تنظیم کے طور پر بلکہ خواتین کارکنوں کی ایک ٹریڈ یونین کے طور پر قائم کرنا ہے ۔ ریاستی سطح پر لیبر ڈیپارٹمنٹ کے حکام نے ابتدائی طور پر سیلف ایمپلائیڈ ویمنز ایسوسی ایشن کے بطور ٹریڈ یونین رجسٹریشن کی مخالفت کی کیونکہ اس کے اراکین کا کوئی آجر نہیں ہے۔ ایلابین نے دلیل دی کہ خواتین کارکنوں کو اتحاد میں لانا – ان کی اجتماعی نمائندگی اور اجتماعی  طاقت کو یقینی بنانا – وہ چیز ہے جو سیواکو ایک ٹریڈ یونین بناتی ہے، نہ کہ کسی آجر کی موجودگی یا غیر موجودگی۔ بعد ازاں سیواکو 12 اپریل 1972 کو بطور ٹریڈ یونین رجسٹر کیا گیا۔

یہ سبق آج بھی ہمارے لیے اہم ہے کیونکہ لاکھوں نوجوان کارکنوں کو خود روزگار کے طور پر نامزد کیا گیا ہے اور انہیں اجتماعی نمائندگی اور اجتماعی طاقت کے لیے اکٹھے ہونے کی ضرورت ہے۔ انہیں ایک ٹریڈ یونین کی ضرورت ہے – اور انہیں اس کا حق ہے۔

سیلف ایمپلائیڈ ویمنز ایسوسی ایشن نے پہلی بار خود روزگار خواتین کارکنوں کی منظم، اجتماعی سودے بازی کی طاقت قائم کی۔ سیلف ایمپلائیڈ ویمنز ایسوسی ایشن میں آئی یو ایف کی رکنیت میں، بیڑی (تمباکو) خواتین کارکنوں کی  خریداروں کی طرف سے ادا کی گئی قیمتوں پر اجتماعی طور پر سودے کاری کرنے میں زبردست کامیابی اس کی ایک مثال ہے۔    یہی تجربہ خواتین ڈیری ورکرز کے ساتھ بھی دہرایا گیا۔ایک ٹریڈ یونین کے طور پر  سیلف ایمپلائیڈ ویمنز ایسوسی ایشن کی اجتماعی نمائندگی اور طاقت نے سبزی فروشوں اور خوراک بیچنے والوں کو سرکاری حکام کے ساتھ بات چیت میں اپنے حقوق اور مفادات کا دفاع کرنے کے قابل بنایا۔یہ ایلابین کی اقدار اور کام اور معاشی اور سماجی انصاف سے حاصل ہونے والی خود اختیاری ہے جس کی انہیں امید تھی۔جیسا کہ ایلابین نے اپریل 2016 میں   سیلف ایمپلائیڈ ویمنز ایسوسی ایشن راشٹریہ پتریکا کے پہلے شمارے میں لکھا تھا، خواتین کو منظم کرنے کے ذریعے “اہم آواز،نمود اور توثیق حاصل کر سکتے ہیں”۔

خواتین کارکنوں کے لیے معاشی اور سماجی انصاف اور ان کو اجتماعی طور  پر بااختیار بنانے کے لیے ایلابین کی تاحیات وابستگی کا احترام کرنے کے لیے،آئی یو ایف ایشیا/پیسفک ریجنل آرگنائزیشن اس بات کو یقینی بنائے گی کہ ایلابین کے خیالات، تحریریں، اسباق اور اقدامات ٹریڈ یونین رہنماؤں کی نوجوان نسل کو سکھائے جائیں۔درحقیقت، یہ ایلابین کے اقدامات ہیں – خواتین کارکنوں سے بات کرنے کے لیے باہر جانا، ان میں شامل ہونا، خود لیڈر بننے کے لیے اعتماد پیدا کرنے میں ان کی مدد کرنا – یہ ہمارا سب سے اہم سبق ہے۔

احمد آباد میں سبزی فروشوں کے ساتھ ایلابین کی تصویر سڑک پر دکاندار کے طور پر اپنے حقوق کا قانونی تحفظ حاصل کرنے کے بعد۔ تصویر 25 فروری 2010 کو فوٹوگرافر ٹام پیٹراسک نے لی ہے۔

 

Transnational union of Filipino migrant, domestic and care workers advances the fight for dignity and social and economic justice

Transnational union of Filipino migrant, domestic and care workers advances the fight for dignity and social and economic justice

The founding Congress of the Pinay Careworkers Transnational held in Quezon City in the Philippines on December 16-17, 2022, is a tremendous step forward in the fight for economic and social justice and winning dignity and respect for some of the most vulnerable workers in the world.

Mabuhay ang PINAY: SENTRO Statement for the founding Congress of the Pinay Careworkers Transnational (PINAY)

In today’s interconnected world, the crucial role of migrant workers is obviously clear. From professionals, to agricultural, blue collar, and domestic workers, entire economies depend on migrant labor. This is especially the case for the Philippines, which hails our Overseas Filipino Workers (OFWs) as modern day heroes. Yet, despite their important contributions, migrant workers experience widespread violations of their human and labor rights – both in the destination and origin countries.

Because of this, and the need to protect their rights, interests, as well as work towards their empowerment, the Sentro ng mga Nagkakaisa at Progresibong Manggagawa (SENTRO) announced with great joy the formation of Pinay Careworkers Transnational (PINAY), a transnational labor union of migrant Filipino care and domestic workers. In its inaugural Congress this 16-17 of December 2022, PINAY establishes itself as a space for organizing the collective strength of care workers in the Philippines and the many destination countries for OFWs.

Representing mostly women members based in Bahrain, Jordan, Kuwait, Hong Kong, Macau, Malaysia, Taiwan, and the Philippines, the transnational union aims to work towards the complete protection of migrant careworkers across the entire migration cycle, from their recruitment until their departure to the destination countries.

PINAY’s establishment is the product of decades of organizing work made possible by the cooperation of labor organizations in different countries. We look forward to the continued growth of this transnational union towards the empowerment of the millions of OFWs in every corner of the globe.

Mabuhay ang mga manggagawang Pilipino, mabuhay ang mga OFW, mabuhay ang PINAY!

Solidarity message from the IUF Asia/Pacific Regional Secretary to the founding Congress of the Pinay Careworkers Transnational – a transnational union of migrant, domestic and care workers